การเรียนรู้

การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21ยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง

การเรียนรู้ ในยุคที่มีการปฏิวัติอุตสาหกรรม เทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและมีวิวัฒนาการทางด้านวัตถุขึ้นตลอดเวลา ส่งผลทำให้สภาพสังคมที่หล่อหลอมแนวคิดแนวปฏิบัติของมนุษย์ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วย รวมทั้งในด้านการเรียนการสอน จึงทำให้นักการศึกษายุคนี้ได้เสนอระบบการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษารวมทั้งหลักการเรียนรู้ แบบต่างๆที่จะทำให้การศึกษามีความก้าวหน้าและมีคุณภาพ

การเรียนรู้ โดยนักเรียนที่มีความรู้เท่าทันสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข และสอดคล้องกับแนวปฏิบัติและความคิดของคนในยุคศตวรรษที่ 21 ไว้มากมายทั้งที่ปฏิบัติตามได้และปฏิบัติตามไม่ได้เพราะคนคิดมักจะไม่ได้ใช้แนวปฏิบัติของตนเองแต่คนที่ต้องใช้ปฏิบัติคนคิดไม่ได้ถามว่าทำได้หรือเปล่า

1. มนุษย์มีรูปแบบ การเรียนรู้ ที่แตกต่างกัน ผู้สอนจึงต้องใช้วิธีการสอนที่หลากหลายด้วยหากผู้สอนนำรูปแบบการเรียนรู้แบบใดแบบหนึ่งไปใช้กับผู้เรียนทุกคนตลอดเวลา อาจทำให้ผู้เรียนบางคนเกิดอาการตายด้านทางสติปัญญา

2. ผู้เรียนควรเป็นผู้กำหนดองค์ความรู้ของตนเอง ไม่ใช่นำความรู้ไปใส่สมองผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนดำเนินรอยตามผู้สอน

3. โลกยุคใหม่ต้องการผู้เรียนซึ่งมีวินัย มีพฤติกรรมที่รู้จักยืดหยุ่น หรือปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ที่เป็นแบบเผด็จการ แบบให้อิสระ หรือแบบประชาธิปไตย

4. เนื่องจากข้อมูลข่าวสารในโลกจะทวีเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทุกๆ 10 ปี โรงเรียนจึงต้องใช้วิธีสอนที่หลากหลาย โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ กัน

5. ให้ใช้กฎเหล็กของการศึกษาที่ว่า “ระบบที่เข้มงวดจะผลิตคนที่เข้มงวด” และ “ระบบที่ยืดหยุ่นก็จะผลิตคนที่รู้จักการยืดหยุ่น”

6. สังคม หรือชุมชนที่มั่งคั่ง ร่ำรวยด้วยข้อมูลข่าวสาร ทำให้การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลายๆ สถานที่

7. การเรียนรู้แบบเจาะลึก (deep learning) มีความจำเป็นมากกว่าการเรียนรู้แบบผิวเผิน (shallow learning) หมายความว่า จะเรียนอะไรต้องเรียนให้รู้จริง ให้รู้ลึก รู้รอบ ไม่ใช่เรียนแบบ งูๆ ปลาๆ ดังจะเห็นจากในอดีตว่ามีการบรรจุเนื้อหาไว้ในหลักสูตรมากเกินไป จนผู้เรียนไม่รู้ว่าเรียนไปเพื่ออะไร และสิ่งที่เรียนไปแล้วมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

8. การสอนที่จัดว่ามีประสิทธิภาพ ต้องการครูที่มีคุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ทำหน้าที่สอน (instructor) คือต้องการครูที่มีคุณลักษณะเป็นผู้ชี้แนะการเรียนรู้ (learning coach) และ เป็นตัวแทนในการนำผู้เรียนท่องเที่ยวไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้ได้ (learning travel agent) บทบาทของครูในโลกยุคใหม่จึงต้องกว้างขวางกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบัน ไม่ใช่เป็นเพียงผู้ดูแลโปรแกรมการเรียนการสอนเท่านั้น เพราะทำให้เด็กที่จบจากโรงเรียนมีปัญหาในเรื่องความรู้ และทักษะ คือรู้ก็รู้ไม่จริง แล้วยังขาดทักษะที่จำเป็น ต่อการประกอบอาชีพอีกด้วย

9. การศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน (schooling) กับ การศึกษา (education) ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน วินสตัน เชอร์ชิลล์ (Winston Churchill) เคยกล่าวไว้กับรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (Mr.R.A. Butler) เมื่อปี ค.ศ.1944 ว่า “โรงเรียนไม่มีความจำเป็นมากนักในการจัดการศึกษา เพราะเป็นเพียงสถาบันที่มีงานหลักคือการพร่ำอบรมสั่งสอนเด็กๆ เท่านั้น แต่การศึกษามีความแตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิงและการศึกษาเกิดขึ้นในโรงเรียนน้อยมาก”

10. โลกอนาคตจะให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาที่บ้าน (home – based education) มากขึ้น เด็กๆ จะเรียนอยู่ที่บ้าน โดยเรียนจากประสบการณ์ของนักการศึกษาที่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ โดยตรง

นอกจากหลักการเรียนรู้ 10 ประการ ข้างต้นการเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน และครูผู้สอนจะต้องสามารถเป็นไกด์แนะนำในการค้นคว้าหาความรู้จากเทคโนโลยีที่มีอยู่ในยุคนี้ได้อย่างเต็มที่ โดยที่อาจไม่ต้องสอนแต่เนื้อหาให้นักเรียนท่องจำเพียงอย่างเดียวแต่ให้นักเรียนได้ค้นคว้าและสามารถนำความรู้ที่ได้มาอภิปรายซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้นักเรียนสามารถสร้างความคิดของตัวเองได้ การออกแบบระบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 รูปแบบการเรียนการสอนโดยส่วนใหญ่เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ที่เรียกว่า constructivism เพราะเป็นทฤษฏีที่ผู้เรียนสามารถดึงความรู้ที่มีอยู่เดิมมาต่อยอดด้วยการค้นคว้าข้อมูล คิดวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น เพื่อต้องการพัฒนาความรู้ของผู้เรียนให้เกิดขึ้นจึงควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจะต้องมีความสัมพันธ์ มีขั้นตอนและกระบวนการที่เป็นลำดับที่นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนนั้นด้วย เช่นการกำหนดปัญหาที่สนใจและการทำกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ และความสามารถบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆ ได้ นอกจากนี้พ่อแม่ก็มีส่วนสำคัญในการศึกษาของผู้เรียนด้วย ดังนั้นในการศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียน พ่อแม่จะต้องมีส่วนร่วมเพื่อคอยสนับสนุนให้กำลังใจและให้คำแนะนำบุตรหลานในการเรียนรู้ชีวิตให้อยู่อย่างมีความสุขและปลอดภัยในสังคมยุคไซเบอร์ เพราะไม่ว่าทฤษฏีการศึกษาใดการเรียนการสอนดีเช่นใด ก็ไม่สามาแม่”รถช่วยให้เยาวชนมีความสุขและความปลอดภัยในชีวิตได้เท่ากับ “พ่อแม่”

การเรียนรู้

การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

จากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมในยุคปัจจุบัน ทำให้การจัดการเรียนการสอนต้องมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยดังที่ นักการศึกษายุคใหม่จึงได้เสนอหลักการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ไว้ ดังนี้

1. มนุษย์มีรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ผู้สอนจึงต้องใช้วิธีการสอนที่หลากหลายด้วยหากผู้สอนนำรูปแบบการเรียนรู้แบบใดแบบหนึ่งไปใช้กับผู้เรียนทุกคนตลอดเวลา อาจทำให้ผู้เรียนบางคนเกิดอาการตายด้านทางสติปัญญา

2. ผู้เรียนควรเป็นผู้กำหนดองค์ความรู้ของตนเอง ไม่ใช่นำความรู้ไปใส่สมองผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนดำเนินรอยตามผู้สอน

3. โลกยุคใหม่ต้องการผู้เรียนซึ่งมีวินัย มีพฤติกรรมที่รู้จักยืดหยุ่น หรือปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ที่เป็นแบบเผด็จการ แบบให้อิสระ หรือแบบประชาธิปไตย

4. เนื่องจากข้อมูลข่าวสารในโลกจะทวีเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทุกๆ 10 ปี โรงเรียนจึงต้องใช้วิธีสอนที่หลากหลาย โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ กัน

5. ให้ใช้กฎเหล็กของการศึกษาที่ว่า “ระบบที่เข้มงวดจะผลิตคนที่เข้มงวด” และ “ระบบที่ยืดหยุ่นก็จะผลิตคนที่รู้จักการยืดหยุ่น”

6. สังคม หรือชุมชนที่มั่งคั่ง ร่ำรวยด้วยข้อมูลข่าวสาร ทำให้การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลายๆ สถานที่

7. การเรียนรู้แบบเจาะลึก (deep learning) มีความจำเป็นมากกว่าการเรียนรู้แบบผิวเผิน (shallow learning) หมายความว่า จะเรียนอะไรต้องเรียนให้รู้จริง ให้รู้ลึก รู้รอบ ไม่ใช่เรียนแบบ งูๆ ปลาๆ ดังจะเห็นจากในอดีตว่ามีการบรรจุเนื้อหาไว้ในหลักสูตรมากเกินไป จนผู้เรียนไม่รู้ว่าเรียนไปเพื่ออะไร และสิ่งที่เรียนไปแล้วมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

8. การสอนที่จัดว่ามีประสิทธิภาพ ต้องการครูที่มีคุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ทำหน้าที่สอน (instructor) คือต้องการครูที่มีคุณลักษณะเป็นผู้ชี้แนะการเรียนรู้ (learning coach) และ เป็นตัวแทนในการนำผู้เรียนท่องเที่ยวไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้ได้ (learning travel agent) บทบาทของครูในโลกยุคใหม่จึงต้องกว้างขวางกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบัน ไม่ใช่เป็นเพียงผู้ดูแลโปรแกรมการเรียนการสอนเท่านั้น เพราะทำให้เด็กที่จบจากโรงเรียนมีปัญหาในเรื่องความรู้ และทักษะ คือรู้ก็รู้ไม่จริง แล้วยังขาดทักษะที่จำเป็น ต่อการประกอบอาชีพอีกด้วย

9. การศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน (schooling) กับ การศึกษา (education) ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน วินสตัน เชอร์ชิลล์ (Winston Churchill) เคยกล่าวไว้กับรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (Mr.R.A. Butler) เมื่อปี ค.ศ.1944 ว่า “โรงเรียนไม่มีความจำเป็นมากนักในการจัดการศึกษา เพราะเป็นเพียงสถาบันที่มีงานหลักคือการพร่ำอบรมสั่งสอนเด็กๆ เท่านั้น แต่การศึกษามีความแตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิงและการศึกษาเกิดขึ้นในโรงเรียนน้อยมาก”

10. โลกอนาคตจะให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาที่บ้าน (home – based education) มากขึ้น เด็กๆ จะเรียนอยู่ที่บ้าน โดยเรียนจากประสบการณ์ของนักการศึกษาที่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ โดยตรง

นอกจากหลักการเรียนรู้ 10 ประการ ข้างต้นการเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน และครูสามารถเป็นไกด์แนะนำในการค้นคว้าหาความรูจากเทคโนโลยีที่มีอยู่ในยุคนี้ได้อย่างเต็มที่ โดยที่อาจไม่ต้องสอนแต่เนื้อหาให้นักเรียนท่องจำเพียงอย่างเดียวแต่ให้นักเรียนได้ค้นคว้าและสามารถนำความรู้ที่ได้มาอภิปรายซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้นักเรียนสามารถสร้างความคิดของตัวเองได้ การออกแบบระบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 รูปแบบการเรียนการสอนโดยส่วนใหญ่เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การศึกษายุคนี้จึงต้องกล่าวถึงทฤษฏี constructivism เพราะเป็นทฤษฏีที่ผู้เรียนสามารถดึงความรู้ที่มีอยู่เดิมมาต่อยอดด้วยการค้นคว้าข้อมูล คิดวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น เพื่อต้องการพัฒนาความรู้ของผู้เรียนให้เกิดขึ้นจึงควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจะต้องมีความสัมพันธ์ มีขั้นตอนและกระบวนการที่เป็นลำดับที่นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนนั้นด้วย เช่นการกำหนดปัญหาที่สนใจและการทำกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ และความสามารถบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆ ได้

แหล่งที่มา

https://www.gotoknow.org/posts/374764

บทความข่าวสารอื่นๆที่น่าสนใจ

ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ ilanyolla.com

แทงบอล

Releated